You can edit almost every page by Creating an account. Otherwise, see the FAQ.

がん患者集う寺〜鳥越俊太郎タイ現地ルポ〜カッパモン寺

提供:EverybodyWiki Bios & Wiki
移動先:案内検索

Lua エラー package.lua 内、80 行目: module 'Module:Message box/configuration' not found がん患者集う寺〜鳥越俊太郎タイ現地ルポ〜カッパモン寺(がんかんじゃつどうてらとりごえしゅんたろうたいげんちるぽかっぱもんじ)は、RKB毎日放送2014年5月23日に放送されたドキュメンタリー番組

概要[編集]

  • カッパモン寺:

タイ語: วัด (寺) คำประมง(カッパモン) 英語 : Wat Khampramong 

40年前に創建されたタイ東北部のサコンナコーン県にある唯一治療の医療行為が認められた寺で、患者とその家族用の宿舎まで完備している。パポンパッ住職は寺で治療を行う事を国から認められています。

住職自身38歳の時に鼻の癌に侵され西洋薬の抗がん治療をするもの副作用に耐えきれなかった。薬草の本に出会い書いてある通りに薬を飲み瞑想をしたら食欲が湧き元気を取り戻した。

更に薬草の研究をして基本となる11種類の薬草の組み合わせをブレンドして全ての患者に飲んでいる。日本でも使われている漢方薬生薬(山帰来・唐当帰など)や健康食品(クミスクチン・サラシア)もあれば、熱帯の現地に自生しているホア ロオイ ル(直訳:頭百穴)ー別名アリノスダマ(寄生植物で無数の穴がありアリに守られながらアリの住処を提供して共存している植物)タイの生薬もあります。また、日本では木材としてしか流通がないチーク材も生薬として使用しています。但し現代科学においては、これらで使われている生薬の全てが抗がん作用を認めるものではありません。その為住職はこれらの生薬の研究を世界中の研究機関にして欲しい旨をメッセージに込めています。患者は現在4,000人を超えています。


がん患者集う寺〜鳥越俊太郎タイ現地ルポ〜カッパモン寺[編集]

ルポライター
ナレーション
吹き替え
通訳・翻訳
薬草監修
美術
  • 米良ひかる
MA選曲
  • 本田康太郎
編集
  • 高尾将
構成
  • 松石泉
撮影
  • 青木周作
  • 阿佐部伸一
音楽
  • 公山純次
ディレクター
プロデューサー
制作著作


ブレンドされている11種類の生薬の分量[編集]

  • 参考ホームページ

http://www.natureshop.in.th/ตำรับยาสมุนไพรรักษามะเร็งสูตร-1

1. หัวร้อยรู  หนัก 50 กรัม 

2. ไม้สักหิน  หนัก 50 กรัม

3. ข้าวเย็นเหนือ   หนัก 200 กรัม

4. โกฐจุฬา  หนัก 50 กรัม (ใช้ทั้งต้น)

5. ข้าวเย็นใต้  หนัก 200 กรัม

6. โกฐเชียง  หนัก 50  กรัม

7. กำแพงเจ็ดชั้น  หนัก 50 กรัม

8. เหงือกปลาหมอ หนัก 200 กรัม 

9. ผีหมอบ  หนัก 100 กรัม

10. หญ้าหนวดแมว หนัก 50 กรัม

11. ทองพันชั่ง  หนัก 200 กรัม (ใช้ทั้งต้น)


https://lh3.googleusercontent.com/PXFX1_QR4P1RNLk_qpZNVeIaIUV9BvGDvyEaHTb_8qIR8QX-dXBIOg-6OKAI130kk-GUzD5COVHBNdvnWw=w600-h0 - タイ東北部サコンナコーン県にあるカッパモン寺で使われる11種類のタイの生薬のタイ名と分量と日本名の表


タイでの生薬の情報[編集]

1.หัวร้อยรู

ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Hydnophytum formicarum Jack
ชื่อสามัญ  :  กระเช้าฝีมด ปุมเป้า ร้อยรู
ชื่อวงศ์   RUBIACEAE
ชื่ออื่น  : ร้อยรู (ปัตตานี); ปุมเป้า (ตราด); ตาลิมา (มลายู – ภาคใต้); ดาลูปู; กระเช้าผีมด 
 (สุราษฎร์ธานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ • ลำต้น ไม้อิงอาศัย ลำต้นเป็นหัวกลมขนาดใหญ่ มีกิ่งก้านชูออกมาจากหัว กิ่งเรียบมัน สีน้ำตาลเทา หัวข้างในมีรูพรุน มีมดอาศัยอยู่จำนวนมาก • ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามและตั้งฉากกัน อยู่มากที่ปลายกิ่ง ใบรูปไข่กลับปลายใบมน โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบ หนา • ดอก เป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ สารออกฤทธิ์ที่พบ    Chemiebase สรรพคุณ • หัว – รสเมา  บำรุงหัวใจ ขับชีพจร  ขับพยาธิ แก้พิษในข้อในกระดูก  แก้พิษประดง แก้ข้อเข่าข้อเท้าบวม รักษามะเร็ง


2.ไม้สักหิน

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cordia globifera W.W. Smith
ชื่อวงศ์  :  EHRETIACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์   • ไม้สักหิน  เป็นไม้สักที่มีลักษณะเนื้อไม้ใกล้เคียงกับไม้สักขี้ควาย ซึ่งมีสีคล้ำ แต่มีความแข็งแรงมากกว่า และขึ้นอยู่ในดินที่แห้งแล้งมากกว่าพื้นดินที่มีสภาพเป็นหินทำให้ขาดแคลนอาหาร อันมีความจำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตของไม้สัก • ใบ  เล็กกว่าปกติจะทราบได้แน่นอนเมื่อมีการโค่นล้มหรือตบแต่ง โดยพวกโค่นล้มเลื่อยและช่างไม้ เพราะเนื้อไม้จะแข็งกว่าไม้สัก ทั่วไปและเปราะสีของ เนื้อไม้สักเป็นสีน้ำตาลเข้ม  การแตกของเปลือกเป็นร่องลึก และเรือนยอดดูไม่ค่อยแข็งแรง 
ป่าสักโดยทั่วไปแล้วจะเป็นป่าผสมผลัดใบ หรือที่เรียกว่า ป่าเบญจพรรณ โดยจะมีการผลัดใบในฤดูแล้งเจริญเติบโตได้ดีในสภาพพื้นที่ที่มีความชุ่มชี้นสูง ดินลึก มีการระบายน้ำดี ดินมีความเป็นกลางหรือด่างเล็กน้อย โดยมีค่าของเป็นกรด-ด่าง (PH) ระหว่าง 6.5-7.5 ปริมาณน้ำฝนที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และคุณภาพของเนื้อไม้อยู่ระหว่าง 1,500 มม.-1,600 มม. ต่อปี และมีฤดูแล้งสบัลกับฤดูผนที่ชัดเจน ทำให้เนี้อไม้มีลวดลายของวงปีชัดเจน และระดับความสูงของพื้นที่ 200-750 เมตร จากระดับน้ำทะเล 
ไม้สักหิน  เป็นไม้ที่มีความต้องการแสงแดดมากชนิดหนึ่ง ปริมาณความเข้มของแสงสว่างที่เหมาะสม คือ 75-79% ของปริมาณแสงแดดในแต่ละวัน อุณหภูมิระหว่าง 13-40 องศาเซลเซียส สรรพคุณ • ราก  รสหวานสุขุม  บำรุงหัวใจให้แข็งแรง ป้องกันตับ และต้านเชื้อแบคทีเรียชนิดต่างๆ  นอกจากนี้ยังพบว่า สมุนไพรชนิดนี้สามารถรักษาโรคเบาหวาน โรคหัวใจโรคอัลไซเมอร์ โรคจิต อาการซึมเศร้า เบื่ออาหาร โรคไมเกรน โรคไตและอื่นๆ


3.ข้าวเย็นเหนือ

ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Premna herbacea Roxb
ชื่อวงศ์ :  Verbenaceaev ลักษณะทางพฤกษศาสตร์  
  ข้าวเย็นเหนืออยู่คู่กับข้าวเย็นใต้ เป็นไม้เลื้อยลงหัว ไม้เถาขนาดเล็กลำต้นมีหนาม  • ใบ  คล้ายใบกลอย  รูปไข่ยาวหนา  • หัว   สีน้ำตาลอ่อนเปลือกและเนื้อในหัว สีแดง รสมันกร่อยหวานเล็กน้อย สรรพคุณ
         ใช้หัวแก้เส้นพิการ น้ำเหลืองเสีย กามโรค ฝีเปื่อย พุพอง และต้นแก้อัมพาตแก้ประดง คุดทะราด น้ำเหลืองเสีย แก้เส้นเอ็นพิการ แก้กามโรค ออกดอกเข้าข้อ ฝีแผลเน่าเปื่อยพุพอง เม็ดผื่นคัน ดับพิษในกระดูก แก้ปัสสาวะ  

4.โกฐจุฬา

ชื่อวิทยาศาสตร์  :  Eupatorium capillifolium Small
ชื่อสามัญ  :  โกศจุฬา   พิษนาด (ราชบุรี), แซไหง, ไง่ เฮียะ (จีน)
ชื่อวงศ์  :  COMPOSITAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์   • ต้น ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1.5 เมตร รากมีกลิ่นหอม  • ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือรูปใบหอก ขอบหยักเว้า ลึกเป็นพู  • ดอกช่อ แยกแขนง ประกอบด้วยช่อย่อยเป็นกระจุกกลม ขนาดเล็กออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง มีชั้นใบประดับ กลีบดอกสีเหลืองอ่อน  • ผลแห้ง ไม่แตกเมล็ด รูปขอบขนานหรือรูปไข่ ผิวเกลี้ยงเป็นต้นไม้ขนาดเล็ก  ต้นและใบคล้ายผักชี ดอกสีขาว ส่งมาจากอินเดีย  มีปลูกในประเทศไทยบ้าง  แต่สรรพคุณอ่อนกว่าของอินเดีย สรรพคุณ • ใบและช่อดอกแห้ง - ใช้แก้ไข้ที่มีผื่น เช่น หัด สุกใส แก้ไอ • ทั้งต้น   รสสุขุมหอมร้อน  แก้ไข้เจลียง (ไข้ที่มีเม็ดผื่นตามตัว  เช่น  ไข้หัด  สุกไส ดำแดง เป็นต้น)  แก้ไข้เพื่อเสมหะ แก้หืด แก้ไอ แก้ไข้ จับ  เป็นยาเร่งประสาทส่วนกลางเหมือนการบูร  ขับลม  แก้ตกเลือด  ตำพอกแก้ลม แก้ช้ำใน แก้ปวดเมื่อยรูมาติก แก้บิด  แก้ปวดท้องหลังคลอด แก้ระดูมามากเกินไป
โกฐจุฬาลัมพานั้น แก้ไข้เจลียงและแก้ผื่นพรึงขึ้นทั้งตัว เป็นเพื่อเสมหะและหืดไอนักวิทยาศาสตร์พบสารสกัดของโกฐจุฬา มีสรรพคุณบำรุงความจำและบำบัด รักษาอาการแปลกๆ ของผู้สูงอายุที่เป็นโรคสมองฝ่อ และสมองพิการอื่นๆได


5. ข้าวเย็นใต้

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Smilax glabra Wall.ex Roxb.
ชื่อวงศ์ : SMILACACEAE
ชื่ออื่น :  หัวยาจีนปักษ์ใต้ (ใต้); ยาหัวข้อ (เหนือ);  เตียวโถ่ฮก (จีน); ข้าวเย็นโคกขาว; ลักษณะทางพฤกษศาสตร์   • ข้าวเย็นใต้ เป็นพืชจำพวกหัว ไม้เถาขนาดเล็ก ใบรูปหัวใจบาง มีหลายชนิด ทั้งชนิดมีหนาม ไม่มีหนาม ใบจักเว้า เนื้อในหัวสีขาว  • ลำต้น เป็นไม้เถาลงหัว เถามีหนาม • ใบ โตเหมือนใบกลอย สรรพคุณ • หัว รสมันกร่อยหวานเล็กน้อย แก้ประดง คุดทะราด แก้น้ำเหลืองเสีย แก้เส้นเอ็นพิการ แก้กามโรคเข้าข้อออกดอก ฝีแผลเน่าเปื่อยพุพอง เม็ดผื่นคัน ดับพิษในกระดูก แก้ปัสสาวะ


6.โกฐเชียง

ชื่อวิทยาศาสตร์  :  Livisticum officnale Koch. 
ชื่อสามัญ  :  กุยบ๊วย (จีน) Lovage      ตังกุย  (จีน)
ชื่อวงศ์  :  UMBELLIFERAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์  
          โกฐเชียงเป็นไม้ยืนต้น สูงประมาณ 0.4-1 เมตร รากแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว ส่วนราก รากเป็นไม้พวกโสมสีน้ำตาลเหลือง รากฝอย รากทั้งหมดยาวประมาณ 2-4 ซม. เปลือกนอกเป็นสีน้ำตาลส้ม สารสำคัญคือ น้ำมันหอมระเหย กรดวาเรอริก แอนเจนลิซิน วิตามันบี 12 วิตามินเอ ฯล สรรพคุณ • ราก  รสหวานสุขุม  บำรุงหัวใจให้แข็งแรง ป้องกันตับ และต้านเชื้อแบคทีเรียชนิดต่างๆ  นอกจากนี้ยังพบว่า สมุนไพรชนิดนี้สามารถรักษาโรคเบาหวาน โรคหัวใจโรคอัลไซเมอร์ โรคจิต อาการซึมเศร้า เบื่ออาหาร โรคไมเกรน โรคไตและอื่นๆ


7.กำแพงเจ็ดชั้น

ชื่อวิทยาศาสตร์  : Salacia chinensis L.
ชื่อวงศ์ : CELASTRACEAE
ชื่อพื้นเมือง  : ตะลุ่มนก (ราชบุรี), ตาไก้ (พิษณุโลก, นครราชสีมา), น้ำนอง มะต่อม ไก่ (ภาคเหนือ),   หลุมนก  (ระยอง, ตราด, ประจวบคีรีขันธ์)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
          ไม้พุ่มรอเลื้อย สูง 2-6 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปไข่ หรือรูปไข่กลับ ปลายแหลมหรือมน โคนสอบ ขอบหยักหยาบๆ ดอกออกเป็นกลุ่มหรือเป็นช่อสั้นๆ ที่ง่ามใบ ดอกเล็ก สีเขียวอมเหลืองหรือเหลือง กลีบเลี้ยงเล็กมาก กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ป้อม ผลค่อนข้างกลมหรือรี เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 ซม. ผลสุกสีแดงหรือแดงอมส้ม มี 1 เมล็ด เมล็ดค่อนข้างกลม ประโยชน์ • ผลกินได้ ในฟิลิปปินส์ใช้รากเข้ายาแผนโบราณเพื่อบำบัดอาการปวดประจำเดือนหรืออาการประจำเดือนผิดปรกติ อ้างอิง :  1) ราชบัณฑิตยสถาน. 2538. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก. กรุงเทพมหานคร: เพื่อนพิมพ์.


8. เหงือกปลาหมอ

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Acanthus ebracteatus Wall.  (เหงือกปลาหมอดอกขาว) A. ilicifolious Linn. (เหงือกปลาหมอดอกสีม่วง) 
ชื่อวงศ์ : ACANTHACEAE
ชื่ออื่นๆ : เหงือกปลาหมอแดง จะเกร็ง อีเกร็ง (สมุทรปราการ) แก้มหมอเล (กระบี่) แก้มหมอ (สตูล) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
           ไม้พุ่มสูง 1-3 ฟุต ลำต้นกลมเรียบ แข็ง สีเขียวแกมเทามักมีหนามตามข้อๆ ละ 4 หนาม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรี หรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-7 ซม. ยาว 6-20 ซม. ขอบใบเว้าหยักซี่ฟันห่างๆ ปลายซี่เป็นหนามแหลม ผิวใบเรียบมัน เนื้อใบเหนียวแข็งดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ชนิดดอกขาวมีกลีบดอกสีขาว จุดประแดงหรือม่วงแดง ชนิดดอกม่วงมักมีกลีบดอกสีม่วงอมฟ้า มีแถบเหลืองอ่อน กลางกลีบ ผลเป็นฝักรูปไข่หรือทรงกระบอก เหงือกปลาหมอ เกิดเองตามบริเวณป่าชายเลน บริเวณปากน้ำที่น้ำทะเลขึ้นถึง หรือที่ดินเค็ม ไม่ชอบที่ดอน แถบภาคอีสานก็ปลูกได้เช่นกัน เหงือกปลาหมอ พบอยู่ 2 พันธุ์ คือ ชนิดดอกสีขาว มีดอกสีขาว พบมากในภาคกลางและภาคตะวันออก ชนิดดอกม่วง พบทางภาคใต้ สำหรับเหงือกปลาหมอขาว หรือ เหงือกปลาหมอน้ำจืด มีลักษณะเหมือนเหงือกปลาหมอแดง แต่ใบสีเขียวเข้มมีเส้นใบสีขาว เป็นแนวก้างปลา มีสรรพคุณเหมือนเหงือกปลาหมอแดง สรรพคุณ • ผล     :  รสเผ็ดร้อน รบประทานขับโลหิตระดู แก้ฝี  • เมล็ด : รสเผ็ดร้อน รับประทานขับพยาธิ  • ทั้งต้น : รสเค็มกร่อย แก้ฝีดาษ แก้ฝีภายใน แก้โรคผิวหนังน้ำเหลืองเสีย ตำพอกปิดหัวฝี
รสเค็มกร่อยร้อน แก้ฝีดาษ แก้ฝีทั้งภายนอกภายใน แก้โรคผิวหนังผื่นคัน ใบเหงือก ปลาหมอขาวใช้รักษาฝีได้ดีกว่าเหงือกปลาหมอชนิดอื่น
เป็นยาเจริญอายุ โดยการปรุงรวมกับพริกไทย ในอัตราส่วน 2:1 บดทำเป็นผงละลายน้ำผึ้งรับประทาน
ใช้น้ำคั้นจากใบทาศีรษะ ช่วยบำรุงรักษารากผม


9. กระเจียน (ฝีหมอบ)

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Polyalthia cerasoides ( Roxb. ) Benth. ex Bedd.ST 
ชื่อวงศ์ : ANNONACEAE
ชื่อพื้นเมือง :  ผีหมอบ กะเจียน ฝีหมอบ ทรายเดน ลักาณะพฤษศาตร์ •  เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ลำต้นตั้งตรงสูงใบเดี่ยวรูปหอก ปลายและโคน  แหลม เปลือกต้นสีน้ำตาล เนื้อไม้อ่อนดอกเดี่ยว กลิ่นรูปลิ้นสีเขียวอมเหลือง ผลกลมรีเป็นกลุ่มกลมหมอผีโบราณใช้กิ่งเล็ก ๆ ไล่ตีผีที่เข้าคน ผีจะหมอบด้วยความกลัว เป็นตัวยาที่ใช้แก้ในน้ำเหลือง แก้ฝี ขึ้นตามป่าโปร่ง ป่าดิบแล้งทั่วไป ในเขตวนอุทยานถ้ำเพชร ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด 

สรรพคุณ  • ใบ-สด รสเฝื่อนเย็น ตำพอกฝี แก้ปวด แก้อักเสบ เนื้อไม้ รสขม ต้มน้ำดื่ม แก้วัณโรคในลำไส้ วัณโรคในปอด แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดหลัง ปวดเอว แก้ปัสสาวะพิการ แก้กระษัย ไตพิการ บำรุงธาตุ เจริญอาหาร ฝนกับน้ำปูนใส ทาเกลื่อนหัวฝี


10.หญ้าหนวดแมว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Orthosiphon aristatus Mig. ชื่อวงศ์   :  LABIATAE
ชื่อท้องถิ่น : พยับเมฆ (กรุงเทพฯ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
           หญ้าหนวดแมวเป็นไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม ดอกเป็น ช่อสวยงามมาก มีลักษณะคล้ายฉัตร เป็นขั้นๆสีขาวหรือสีม่วง มีเกสรตัวผู้ยาวคล้ายหนวดแมว

สรรพคุณ • ส่วนที่ใช้เป็นยา   ใบหญ้าหนวดแมว • ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์   ใบหญ้าหนวดแมว มีโปแตสเซียมสูงปริมาณร้อยละ0.7-0.8 และมี glycoside ที่มีรสขม ชื่อ Orthosiphoninนอกจากนี้ยังพบ essential (0.2-0.6%)saponin, alkloid, organic acid และ fatty oil จากรายงานพบว่าใช้เป็นยาขับปัสสาวะ เช่น ไตอักเสบ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล นพ.วีรสิงห์ เมืองมั่น และคณะ พบว่าได้ใช้ยาชงจากหญ้าหนวดแมว  4 กรัม ชงกับน้ำเดือด 750 ซี.ซี ดื่มต่างน้ำในคนไข้ 27 คนพบว่า ทำให้ปัสสาวะคล่องและใส อาการปวดนิ่วลดลงและขนาดนิ่วลดลง(เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.5 ซ.ม.)หลุดออกมาเอง มีร้อยละ 40 ของผู้ป่วย ผู้ป่วยหายปวดนิ่วร้อยละ 20 กองวิจัยการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์รายงานเรื่องพิษเฉียบพลันว่าไม่มีพิษ


11.ทองพันชั่ง

ชื่อวิทยาศาสตร์ :   Rhinacanthus nasutus  (L.) Kurz ชื่อพ้อง : R. communis  Nees
ชื่อสามัญ :    White crane flower
ชื่อวงศ์ :   ACANTHACEAE
ชื่ออื่น :  ทองคันชั่ง หญ้ามันไก่ (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ • ไม้พุ่ม สูง 1-2 เมตร กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม ส่วนโคนต้นเนื้อไม้เป็นแกนแข็ง ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกัน รูปไข่ กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. ปลายใบแหลมเรียว โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบสีเขียวอ่อน ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบ ดอกสีขาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 2 ปาก ปากล่างมีจุดประสีม่วงแดง ผล เป็นฝักเล็ก พอแห้งแตกออกได้ สรรพคุณ • ราก  - แก้กลากเกลื้อน รักษาโรคมะเร็ง รักษาโรคผิวหนัง ดับพิษไข้ แก้พิษงู แก้พยาธิวงแหวนตาผิวหนัง  • ทั้งต้น  - รักษาโรคผิวหนัง แก้น้ำเหลืองเสีย แก้กลากเกลื้อน ผื่นคัน รักษามะเร็ง คุดทะราด ขับพยาธิตามผิวหนังตามบาดแผล แก้ไส้เลื่อน ไส้ลาม แก้ปัสสาวะผิดปกติ • ต้น  - บำรุงร่างกาย แก้โรค 108 ประการ รักษาโรคผมร่วง • ใบ  - ดับพิษไข้ แก้กลากเกลื้อน ผื่นคัน แก้โรคไขข้ออักเสบ รักษาโรคผิวหนัง รักษาโรคมะเร็ง รักษาโรคความดันโลหิตสูง แก้ผมร่วง บำรุงร่างกาย แก้โรค 108 ประการ แก้ปวดฝี แก้พิษงู ถอนพิษ แก้อักเสบ แก้โรคมุตกิต รักษาโรคพยาธิวงแหวนตามผิวหนัง 


外部リンク[編集]


This article "がん患者集う寺〜鳥越俊太郎タイ現地ルポ〜カッパモン寺" is from Wikipedia. The list of its authors can be seen in its historical and/or the page Edithistory:がん患者集う寺〜鳥越俊太郎タイ現地ルポ〜カッパモン寺.



Read or create/edit this page in another language[編集]